ตอนนี้จะชวนมาอ่านบทที่ ๓ ของตำรา Immunology ของ David Male สำนักพิมพ์ Elsevier ฉบับที่ ๘ (ISBN-978-0-702-04548-6)
อย่างที่ระบุมาแล้ว ตำราเล่มนี้เป็นพื้นฐานวิชาภูมิคุ้นกันที่นิสิตนักศึกษาชีววิทยาชิวเคมีแพทย์พยาบานและสาขาอื่นๆ ควรรู้ ถ้าได้อ่านบทที่ ๑-๒ มาแล้วบทนี้ไม่ยากมาก เนื้อความของบทคือ สารคุ้นกัน บทมีเพียง ๑๙ หน้าเท่านั้น สามารถอ่านได้ครั้งเดียวหรือสองครั้ง ฯ
บทเริ่งกับข้อสรุปประกอบด้วย ๙ ประเด็น ควรอ่านข้อสรุปก่อนและหลังจากอ่านบทแล้ว
บทเล่าที่สารคุ้นกัน ซึ่งภาษาอังกฤษใช้คำ antybody หรือ immunoglobulin สารนั้นประกอบด้วยโปรตีนและนำตาล มีทั้งรูปแแบติดกับผิวหนังเซลล์และรูปแบบที่เป็นสารละหลาย มีโครงสร้างหลากหลายจัดเป็น ๕ ประเภท อาทิ IgG, IgA, IgM, IgD, และ IgE เนื่องจาก IgG และ IgA มี ๔ และ ๒ ชนิดตามลำดับได้ทั้งหมด ๙ ชนิด (รูป 3.w3 ของบท) ฯ
เมือมาดู immunoglobulin ตัวอย่างจะเห็นที่มีโปรตีนสองเส้น เส้นยาว 55 kD และเส้นสั้น 25 kD แต่ละเส้นมีบริเวณหรือส่วนมีโครงสร้างที่มีลักษณะเฉพาะ (domain) พบในโปรตีนหลายชนิด ในกรณีนี้เป็น ถังชนิดเบต้า (beta barrel) ฯ
สารคุ้มกันมีทั้งโครงสร้างและสรรพคุณที่น่าชม เช่น สาร IgM ประกบด้วยห้าหน่วยเป็รรูปดาว ส่วนใหญ่พบในซีรัม ส่วน IgA เป็นหน่วยเดียวหรือสองหน่วย พบที่น้ำลาย นม น้ำหลอดลม และน้ำที่อวัยวะเพศ ฯลฯ
ต่อไปบทมาอธิบายปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารคุ้มกัน (immunoglobulin) กับสารเร้าภูมิคุ้มกัน (antigen) ระบุว่าไม่ใช่พันธะเคมี แต่ป็นปฏิสัมพันธ์อ่อน เช่น เกี่ยวกับไฟฟ้าสถิต หรือปฏิสัมพันธ์แห่ง van der Waals บบทมาอธิบายความแตกต่างระหว่าง affinity และ avidity ฯ
เสร็จแล้วเล่าถึงโปรตีนตัวรับที่สามารถจับกับส่วน Fc ของสารคุ้มกัน ตัวรับนี้อยู่บนเซลล์ สามารถจับกับเซลล์ที่มีสารคุ้มกันอยู่ ตัวรับนั้นมีสามชนิดได้แก่ FcγRI (C64), FcγRII (C32) และ FcγRIII (C16) ซึ่งตัวรับนี้ทำงานกาบเอ็นไซม์ tyrosine kinase ภายในเซลล์ ขณะตัวรับจับกับ Fc จะกระตุ้นสัญญาณภายในเซลล์ ทำให้เซลล์ตอบสนอง ฯ
ส่วนต่อไปมาอธิบายกี่ยวกับการสร้างสารคุ้มกันหลายๆ ชนิด มาเล่าที่เมื่อเซลล์ B ยังไม่เจริญเติบโตมียินเหมือนกับทุกเซลล์ในร่างการ แต่สามารถสร้างยีนใหม่ได้ (แปลกนะครับ) มีกระบวนการที่ตัด DNA และมาร่วมส่านเพื่อสร้างยีนที่มีรหัสสร้างโปรตีเส้นสั้นและเส้นยาวของสานคุม้กัน กระบวนการนี้เรียกว่า V(D)J recombination ฯ
ที่สิ้นสุดของบทมีแบบฝึกหัดประกอบด้วยคำถาม ช่วยคิดเชิ่งวิเคราะ มีหัวข้อ ความจำเพาะของสารคุ้มกัน ฯ
นอกจากนี้บทมีกล่อง (box) อธิบายวิธีการใช้ในห้องปฏิบัติการ กล่องที่ ๑ มีเกี่ยวกับการผลิตสารคุ้มกันเพื่อรักษาโรค กล่องที่ ๒ อธิบายการตรวจสารคุ้มกันและสารแอนติเจนในห้องปฏิบัติการ ส่วนกล่องที่ ๓ เล่้าถึงวิธีการทำ immunoblotting ๚ะ๛